ระบบบริหารงานวิจัย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

งานวิจัย

\"โครงการวิจัยจากการบริการวิชาการ สาขาวิชานิเทศศาสตร์\"

โดย :

ผศ.กนกพร เอกกะสินสกุล
อ.ภาคภูมิ พิชวงค์
อ.กิติวัฒน์ กิติบุตร
อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
ชื่อเรื่อง : โครงการวิจัยจากการบริการวิชาการ สาขาวิชานิเทศศาสตร์
ผู้วิจัย : ผศ.กนกพร เอกกะสินสกุล
อ.ภาคภูมิ พิชวงค์
อ.กิติวัฒน์ กิติบุตร
อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
วันที่เผยแพร่ : 30-11--0001
บทคัดย่อ :
Abstract :
รายละเอียด :

งานวิจัย

\"การจัดการด้านการสื่อสารเพื่อการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนวิถีชีวิตลานนา“ภูมิปัญญาบายศรีสู่ขวัญ”\"

โดย :

อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
ชื่อเรื่อง : การจัดการด้านการสื่อสารเพื่อการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนวิถีชีวิตลานนา“ภูมิปัญญาบายศรีสู่ขวัญ”
ผู้วิจัย : อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
วันที่เผยแพร่ : 30-11--0001
บทคัดย่อ :
Abstract :
รายละเอียด :

งานวิจัย

\"การสื่อสารอัตลักษณ์อาหารล้านนาภายใต้กระแสวัฒนธรรมพันทาง\"

โดย :

อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
ชื่อเรื่อง : การสื่อสารอัตลักษณ์อาหารล้านนาภายใต้กระแสวัฒนธรรมพันทาง
ผู้วิจัย : อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
วันที่เผยแพร่ : 30-11-2017
บทคัดย่อ : บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการประกอบสร้างอัตลักษณ์ “ความเป็นล้านนา” ผ่านอาหารล้านนา และ 2) เพื่อวิเคราะห์บทบาทของ “อาหารล้านนา” ในปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมประเพณีชาวล้านนา โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ทำการศึกษาโดยอาศัยแนวคิดปรากฏการณ์วิทยา (Phenomenology) ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-dept Interview) และการสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการกับกลุ่มผู้ให้ข้อมูลโดยให้ความสนใจกับข้อมูลเกี่ยวกับการประกอบสร้างความหมายและอัตลักษณ์อาหารล้านนา และใช้การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมและแบบมีส่วนร่วมในการทำจัดทำอาหารล้านนา ผลการวิจัยพบว่า การสื่อสารอัตลักษณ์ “ความเป็นล้านนา” ของอาหารล้านนานั้น เป็นการสื่อสารที่มีการเรียนรู้ไม่สิ้นสุด ด้วยการประกอบสร้างปรุงแต่งรสชาติให้เหมาะสมกับผู้บริโภคที่มีความปรารถนาในรสชาติได้ตามที่ต้องการ แต่ยังคงเสน่ห์ของเครื่องปรุงต้นแบบด้วยเครื่องเทศและส่วนประกอบของอาหารล้านนาเป็นหลักในการประกอบอาหารในแต่ละครั้ง ซึ่งประกอบด้วย กระเทียม หัวหอม พริกแห้งหรือพริกสด กะปิ ถั่วเน่าแข็บ (ถั่วเน่าแผ่น) เกลือ กะปิ ปลาร้า น้ำมะขามเปียกหรือมะขามสด ถั่วเน่าแข็งผิงไฟ น้ำอ้อย คะไคร้ ใบมะกรูด ข่า ขิง จะเป็นหัวใจสำคัญของการประกอบอาหารล้านนา และบทบาทหน้าที่ในการสื่อสารอัตลักษณ์อาหารล้านนา พบว่า มีบทบาทหน้าที่ใหม่ๆ ทั้งหมด 7 บทบาท ได้แก่ 1) บทบาทในการสร้างข้อตกลงร่วมกัน 2) บทบาทในการสร้างความมั่นใจ 3) บทบาทในการสร้างพื้นที่ต่อรอง 4) บทบาทในการสร้างต้นแบบ 5) บทบาทในการสร้างความภาคภูมิใจ 6) บทบาทในการสร้างคุณค่า และ 7) บทบาทในการสร้างมูลค่าเพิ่มความเป็นล้านนาที่ทันสมัย
Abstract :
รายละเอียด :

งานวิจัย

\"การศึกษาทัศนคติของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองเขลางค์นครที่มีต่อคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง\"

โดย :

อ.ภาคภูมิ พิชวงค์
อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
ผศ.กนกพร เอกกะสินสกุล
อ.กิติวัฒน์ กิติบุตร
ชื่อเรื่อง : การศึกษาทัศนคติของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองเขลางค์นครที่มีต่อคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
ผู้วิจัย : อ.ภาคภูมิ พิชวงค์
อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
ผศ.กนกพร เอกกะสินสกุล
อ.กิติวัฒน์ กิติบุตร
วันที่เผยแพร่ : 30-11-2016
บทคัดย่อ : งานวิจัยเรื่อง “การศึกษาทัศนคติของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองเขลางค์นครที่มีต่อคณะ วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏล าปาง” มีวัตถุประสงค์ ได้แก่ 1) ศึกษาการเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับคณะ วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏล าปาง 2) ศึกษาทัศนคติของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองเขลางค์นคร ที่มีต่อคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏล าปาง 3) ศึกษาแนวทางในการเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของ ประชาชนในเขตเทศบาลเมืองเขลางค์นครที่มีต่อคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏล าปาง โดยมีกลุ่ม ตัวอย่าง ได้แก่ ประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลเมืองเขลางค์นคร จ านวน 70 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ การ ประชุมกลุ่มย่อย และการสัมภาษณ์เชิงลึก ผลการวิจัยพบว่า ข้อมูลการเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราช ภัฏล าปาง ป้ายโฆษณากลางแจ้ง กิจกรรมของคณะ และประกาศเสียงตามสายของชุมชน เพราะอยู่ใกล้ตัวเอง ใกล้ชุมชน สามารถเห็นได้อย่างชัดเจน และเป็นสื่อที่ใกล้ชิดชุมชนมากที่สุด ได้รับข้อมูลไปพร้อมๆ กันทั้งชุมชน ด้านทัศนคติของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองเขลางค์นครที่มีต่อคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ล าปาง พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีทัศนคติที่ดีกับคณะในด้านความมีชื่อเสียง ด้านการผลิตบัณฑิต อาจจะ เนื่องมาจากคณะได้ผลิตบัณฑิตเป็นสถาบันแรกในจังหวัด และผลิตมาเป็นเวลานาน จึงได้รับความไว้วางใจจาก ผู้ปกครอง และประชาชน จึงมีอยู่มาก แนวทางในการเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของประชาชนในเขตเทศบาล เมืองเขลางค์นครที่มีต่อคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏล าปาง พบว่า จุดเด่นของมหาวิทยาลัยราช ภัฏล าปางมีชื่อเสียงเพราะเปิดท าการเรียนการสอนมานานแล้ว ท าให้คณะวิทยาการจัดการ ได้รับการยอมรับ จากประชาชน เป็นสถาบันการศึกษาที่เปิดโอกาสให้นักเรียนที่ผลการเรียนอ่อนได้มีโอกาสเรียน การเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารของคณะ มีความทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ มีช่องใหม่ๆที่สามารถเข้าถึงข้อมูล และพื้นที่ของ มหาวิทยาลัยเหมาะส าหรับการเรียนรู้ของนักศึกษา แต่ก็ยังมีจุดที่ต้องพัฒนา คือ งานวิจัย และบริการวิชาการที่รับใช้ชุมชนที่อยู่โดยรอบ มหาวิทยาลัยยังอยู่น้อย แม้ว่าการเผยแพร่ข้อมูลจะเพิ่มช่องทางใหม่ๆ แต่ยังไม่ทั่วถึงและขาดความต่อเนื่อง การใกล้ชิดกับชุมชนที่อยู่บริเวณโดยรอบมหาวิทยาลัยยังมีอยู่น้อย และการประชาสัมพันธ์จุดเด่น หรือ ศักยภาพของคณะ ของมหาวิทยาลัย เพื่อแข่งขันกับสถาบันการศึกษาในพื้นที่
Abstract : The purposes of the research “The Study of Attitude of People in Khelang Nakhon Town Municipality towards Faculty of Management Science, Lampang Rajabhat University” were 1) study exposure to information about the Faculty of Management Science. Lampang Rajabhat University 2) To study the attitudes of people in Khelang Nakhon Town Municipality to the Faculty of Management Science. Lampang Rajabhat University 3) To study the ways of enhancing the good image of people in Khelang Nakhon Town Municipality to the Faculty of Management Science. The sample consisted of 70 people living in the Khelang Nakhon Town Municipality. The research found that Exposure information about the Faculty of Management Science Lampang Rajabhat University Outdoor billboards Faculty Activities And voice announcements along the lines of the community. Because close to being close to the community can be seen clearly. And it is the closest thing to the community. Get information along Both the community attitude of people in Khelang Nakhon Town municipality to the Faculty of Management Science. Lampang Rajabhat University found that the sample had good attitude towards faculty in terms of reputation. Manufacturing May be due to the faculty has produced the first graduate school in the province. And for a long time. Therefore, the trust of the parents and the public is very much. The way to enhance the good image of the people in the municipality of Khelang Nakhon Town City to the Faculty of Management Science. Lampang Rajabhat University has found that the prominence of be famous for its long learning. The Faculty of Management Science Accepted by the people It is an educational institution that gives students the opportunity to study at a lower level. Information dissemination of faculty Modern Timely There are new channels that can access data. And the campus area is great for student learning. But there is still room for improvement: research and academic services serving the communities around the campus are still small. Although dissemination of information will add new channels. But not yet thorough and lack continuity. Close proximity to communities surrounding the campus is low. And publicity highlights Or the potential of the faculty Of the University To compete with local academies.
รายละเอียด :

งานวิจัย

\"โครงการย่อยที่ 1: อัตลักษณ์อาหารพื้นบ้านภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน: บ้านแม่แจ๋ม อำเภอเมืองปาน บ้านจำปุย อำเภอแม่เมาะ และบ้านโป่งน้ำร้อน อำเภอเสริมงาม จังหวัดลำปาง\"

โดย :

อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
รศ.ดร.ปองปรารถน์ สุนทรเภสัช
ชื่อเรื่อง : โครงการย่อยที่ 1: อัตลักษณ์อาหารพื้นบ้านภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน: บ้านแม่แจ๋ม อำเภอเมืองปาน บ้านจำปุย อำเภอแม่เมาะ และบ้านโป่งน้ำร้อน อำเภอเสริมงาม จังหวัดลำปาง
ผู้วิจัย : อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
รศ.ดร.ปองปรารถน์ สุนทรเภสัช
วันที่เผยแพร่ : 01-01-1970
บทคัดย่อ :
Abstract :
รายละเอียด :

งานวิจัย

\"แผนงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปจากกล้วยของกลุ่มเกษตรกรบ้านป่าจ้ำ ตำบลน้ำโจ้ อำเภอ แม่ทะ จังหวัดลำปาง\"

โดย :

ผศ.ดร.พอใจ สิงหเนตร
ดร.สุคนธ์ทิพย์ สุภาจันทร์
อ.พิมาย วงค์ทา
อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
ชื่อเรื่อง : แผนงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปจากกล้วยของกลุ่มเกษตรกรบ้านป่าจ้ำ ตำบลน้ำโจ้ อำเภอ แม่ทะ จังหวัดลำปาง
ผู้วิจัย : ผศ.ดร.พอใจ สิงหเนตร
ดร.สุคนธ์ทิพย์ สุภาจันทร์
อ.พิมาย วงค์ทา
อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
วันที่เผยแพร่ : 01-01-1970
บทคัดย่อ :
Abstract :
รายละเอียด :

งานวิจัย

\"โครงการย่อยที่ 3: การสื่อสารเพื่อพัฒนาศักยภาพทุนชุมชนแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน: บ้านแม่แจ๋ม อำเภอเมืองปาน บ้านจำปุย อำเภอแม่เมาะ และบ้านโป่งน้ำร้อน อำเภอเสริมงาม จังหวัดลำปาง\"

โดย :

อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
ชื่อเรื่อง : โครงการย่อยที่ 3: การสื่อสารเพื่อพัฒนาศักยภาพทุนชุมชนแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน: บ้านแม่แจ๋ม อำเภอเมืองปาน บ้านจำปุย อำเภอแม่เมาะ และบ้านโป่งน้ำร้อน อำเภอเสริมงาม จังหวัดลำปาง
ผู้วิจัย : อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
วันที่เผยแพร่ : 01-01-1970
บทคัดย่อ :
Abstract :
รายละเอียด :

งานวิจัย

\"โครงการย่อยที่ 1: พลวัตประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เพื่อการจัดการส่งเสริมเสน่ห์การท่องเที่ยวโดยชุมชนสู่การกำหนดนโยบายในระดับพื้นที่และระดับจังหวัด : บ้านแม่แจ๋ม อำเภอเมืองปาน บ้านจำปุย อำเภอ แม่เมาะ และบ้านโป่งน้ำร้อน อำเภอเสริมงาม จังหวัดลำปาง\"

โดย :

อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
ชื่อเรื่อง : โครงการย่อยที่ 1: พลวัตประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เพื่อการจัดการส่งเสริมเสน่ห์การท่องเที่ยวโดยชุมชนสู่การกำหนดนโยบายในระดับพื้นที่และระดับจังหวัด : บ้านแม่แจ๋ม อำเภอเมืองปาน บ้านจำปุย อำเภอ แม่เมาะ และบ้านโป่งน้ำร้อน อำเภอเสริมงาม จังหวัดลำปาง
ผู้วิจัย : อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
วันที่เผยแพร่ : 01-01-1970
บทคัดย่อ :
Abstract :
รายละเอียด :

งานวิจัย

\"การสร้างคุณค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอของกลุ่มทอผ้ากี่กระตุก ตำบลไหล่หิน อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง\"

โดย :

ดร.ณัฐวุฒิ ปัญญา
ผศ.ฐิฏิกานต์ สุริยะสาร
อ.พิชญา เพิ่มไทย
อ.วัลลภ สิงหราช
อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
ดร.พรนภา บุญนำมา
ชื่อเรื่อง : การสร้างคุณค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอของกลุ่มทอผ้ากี่กระตุก ตำบลไหล่หิน อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง
ผู้วิจัย : ดร.ณัฐวุฒิ ปัญญา
ผศ.ฐิฏิกานต์ สุริยะสาร
อ.พิชญา เพิ่มไทย
อ.วัลลภ สิงหราช
อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
ดร.พรนภา บุญนำมา
วันที่เผยแพร่ : 30-11--0001
บทคัดย่อ :
Abstract :
รายละเอียด :

งานวิจัย

\"การสร้างคุณค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอของกลุ่มทอผ้ากี่กระตุก ตำบลไหล่หิน อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง\"

โดย :

ดร.ณัฐวุฒิ ปัญญา
ผศ.ฐิฏิกานต์ สุริยะสาร
อ.พิชญา เพิ่มไทย
อ.วัลลภ สิงหราช
อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
ดร.พรนภา บุญนำมา
ชื่อเรื่อง : การสร้างคุณค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอของกลุ่มทอผ้ากี่กระตุก ตำบลไหล่หิน อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง
ผู้วิจัย : ดร.ณัฐวุฒิ ปัญญา
ผศ.ฐิฏิกานต์ สุริยะสาร
อ.พิชญา เพิ่มไทย
อ.วัลลภ สิงหราช
อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
ดร.พรนภา บุญนำมา
วันที่เผยแพร่ : 30-11--0001
บทคัดย่อ :
Abstract :
รายละเอียด :

งานวิจัย

\"37.โครงการวิจัยย่อยที่ 6 : การสื่อสารรณรงค์เพื่อการใช้ประโยชน์จากการคัดแยกขยะแบบมีส่วนร่วมของชุมชนเทศบาลตำบลสูงเม่น อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่\"

โดย :

อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
อ.อวัสดา บินโซดาโอะ
ผศ.ดร.สุเทพ ทองคำ
อ.แวอีเลียส บินโซดาโอะ
ชื่อเรื่อง : 37.โครงการวิจัยย่อยที่ 6 : การสื่อสารรณรงค์เพื่อการใช้ประโยชน์จากการคัดแยกขยะแบบมีส่วนร่วมของชุมชนเทศบาลตำบลสูงเม่น อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่
ผู้วิจัย : อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
อ.อวัสดา บินโซดาโอะ
ผศ.ดร.สุเทพ ทองคำ
อ.แวอีเลียส บินโซดาโอะ
วันที่เผยแพร่ : 01-01-1970
บทคัดย่อ :
Abstract :
รายละเอียด :

งานวิจัย

\"34.โครงการวิจัยย่อยที่ 2 : การจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของเทศบาลตำบลนาครัว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง\"

โดย :

อ.อวัสดา บินโซดาโอะ
อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
อ.ชิดชนก วงศ์เครือ
อ.ธีระ เทียนรุ่งไพศาล
ชื่อเรื่อง : 34.โครงการวิจัยย่อยที่ 2 : การจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของเทศบาลตำบลนาครัว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง
ผู้วิจัย : อ.อวัสดา บินโซดาโอะ
อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
อ.ชิดชนก วงศ์เครือ
อ.ธีระ เทียนรุ่งไพศาล
วันที่เผยแพร่ : 01-01-1970
บทคัดย่อ :
Abstract :
รายละเอียด :

งานวิจัย

\"27.โครงการวิจัยย่อยที่ 8 : กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดการใช้สารเคมีทางการเกษตรในท้องถิ่นของกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกพืชการเกษตร เทศบาลตำบลสูงเม่น อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่\"

โดย :

อ.อวัสดา บินโซดาโอะ
อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
ผศ.ดร.สุเทพ ทองคำ
อ.ภาคภูมิ พิชวงค์
อ.แวอีเลียส บินโซดาโอะ
ชื่อเรื่อง : 27.โครงการวิจัยย่อยที่ 8 : กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดการใช้สารเคมีทางการเกษตรในท้องถิ่นของกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกพืชการเกษตร เทศบาลตำบลสูงเม่น อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่
ผู้วิจัย : อ.อวัสดา บินโซดาโอะ
อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
ผศ.ดร.สุเทพ ทองคำ
อ.ภาคภูมิ พิชวงค์
อ.แวอีเลียส บินโซดาโอะ
วันที่เผยแพร่ : 01-01-1970
บทคัดย่อ :
Abstract :
รายละเอียด :

งานวิจัย

\"โครงการย่อยที่ 1 : การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการสร้างแบรนด์ของกลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าบ้านเวียงสวรรค์ตามอัตลักษณ์ของอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง\"

โดย :

ผศ.ดร.ขจรศักดิ์ วงศ์วิราช
อ.นุสรา แสงอร่าม
อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
ดร.ณัฐวุฒิ ปัญญา
ผศ.ดร.อนุรักษ์ อาทิตย์กวิน
ชื่อเรื่อง : โครงการย่อยที่ 1 : การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการสร้างแบรนด์ของกลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าบ้านเวียงสวรรค์ตามอัตลักษณ์ของอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ผู้วิจัย : ผศ.ดร.ขจรศักดิ์ วงศ์วิราช
อ.นุสรา แสงอร่าม
อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
ดร.ณัฐวุฒิ ปัญญา
ผศ.ดร.อนุรักษ์ อาทิตย์กวิน
วันที่เผยแพร่ : 01-01-1970
บทคัดย่อ :
Abstract :
รายละเอียด :

งานวิจัย

\"การบริหารจัดการหนี้สินชุมชนเชิงบูรณาการ แบบมีส่วนร่วมจังหวัดลำปาง\"

โดย :

ผศ.ฐิฏิกานต์ สุริยะสาร
อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
ดร.สุวรัฐ แลสันกลาง
พิบูล หม่องเขย
ชื่อเรื่อง : การบริหารจัดการหนี้สินชุมชนเชิงบูรณาการ แบบมีส่วนร่วมจังหวัดลำปาง
ผู้วิจัย : ผศ.ฐิฏิกานต์ สุริยะสาร
อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
ดร.สุวรัฐ แลสันกลาง
พิบูล หม่องเขย
วันที่เผยแพร่ : 01-01-1970
บทคัดย่อ :
Abstract :
รายละเอียด :

งานวิจัย

\"โครงการย่อยที่ 1 : อัตลักษณ์อาหารพื้นบ้านภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน : บ้านแม่แจ๋ม อำเภอเมืองปาน บ้านจำปุย อำเภอแม่เมาะ และบ้านโป่งน้ำร้อน อำเภอเสริมงาม จังหวัดลำปาง\"

โดย :

อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
รศ.ดร.ปองปรารถน์ สุนทรเภสัช
ชื่อเรื่อง : โครงการย่อยที่ 1 : อัตลักษณ์อาหารพื้นบ้านภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน : บ้านแม่แจ๋ม อำเภอเมืองปาน บ้านจำปุย อำเภอแม่เมาะ และบ้านโป่งน้ำร้อน อำเภอเสริมงาม จังหวัดลำปาง
ผู้วิจัย : อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
รศ.ดร.ปองปรารถน์ สุนทรเภสัช
วันที่เผยแพร่ : 01-01-1970
บทคัดย่อ :
Abstract :
รายละเอียด :

งานวิจัย

\"การสร้างศูนย์เรียนรู้เพื่อเตรียมความพร้อมผู้ต้องขังทัณฑสถานบำบัดพิเศษลำปางสู่การประกอบอาซีพที่เหมาะสม\"

โดย :

อ.กมลวรรณ ทาวัน
ผศ.กาญจนา คุมา
อ.ธวัชชัย ทำทอง
อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
ชื่อเรื่อง : การสร้างศูนย์เรียนรู้เพื่อเตรียมความพร้อมผู้ต้องขังทัณฑสถานบำบัดพิเศษลำปางสู่การประกอบอาซีพที่เหมาะสม
ผู้วิจัย : อ.กมลวรรณ ทาวัน
ผศ.กาญจนา คุมา
อ.ธวัชชัย ทำทอง
อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
วันที่เผยแพร่ : 30-09-2019
บทคัดย่อ :
Abstract :
รายละเอียด :

งานวิจัย

\"ภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางในทัศนะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง\"

โดย :

อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
ชื่อเรื่อง : ภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางในทัศนะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง
ผู้วิจัย : อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
วันที่เผยแพร่ : 01-01-1970
บทคัดย่อ :
Abstract :
รายละเอียด :

งานวิจัย

\"กระบวนการสื่อสารเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน : กรณีการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน บ้านต้นต้อง ตำบลพิชัย อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง\"

โดย :

อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
ชื่อเรื่อง : กระบวนการสื่อสารเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน : กรณีการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน บ้านต้นต้อง ตำบลพิชัย อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง
ผู้วิจัย : อ.ชุตินิษฐ์ ปานคำ
วันที่เผยแพร่ : 01-01-1970
บทคัดย่อ :
Abstract :
รายละเอียด :