ระบบบริหารงานวิจัย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

งานวิจัย

\"วิจัยในชั้นเรียน “การทำโครงการให้ความรู้แก่นักเรียน โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในรายวิชาวาทวิทยาและการนำเสนอ (30412202)\"

โดย :

ผศ.เบญจวรรณ เลาลลิต
ชื่อเรื่อง : วิจัยในชั้นเรียน “การทำโครงการให้ความรู้แก่นักเรียน โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในรายวิชาวาทวิทยาและการนำเสนอ (30412202)
ผู้วิจัย : ผศ.เบญจวรรณ เลาลลิต
วันที่เผยแพร่ : 30-11--0001
บทคัดย่อ :
Abstract :
รายละเอียด :

งานวิจัย

\"การพัฒนาทักษะด้านการสื่อสารในรายวิชาวาทวิทยาและการนำเสนอ ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๕๗\"

โดย :

ผศ.เบญจวรรณ เลาลลิต
ชื่อเรื่อง : การพัฒนาทักษะด้านการสื่อสารในรายวิชาวาทวิทยาและการนำเสนอ ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๕๗
ผู้วิจัย : ผศ.เบญจวรรณ เลาลลิต
วันที่เผยแพร่ : 30-11--0001
บทคัดย่อ :
Abstract :
รายละเอียด :

งานวิจัย

\"โครงการวิจัยจากการบริการวิชาการ สาขาวิชานิเทศศาสตร์\"

โดย :

ผศ.กนกพร เอกกะสินสกุล
ผศ.เบญจวรรณ เลาลลิต
ชื่อเรื่อง : โครงการวิจัยจากการบริการวิชาการ สาขาวิชานิเทศศาสตร์
ผู้วิจัย : ผศ.กนกพร เอกกะสินสกุล
ผศ.เบญจวรรณ เลาลลิต
วันที่เผยแพร่ : 30-11--0001
บทคัดย่อ :
Abstract :
รายละเอียด :

งานวิจัย

\"สื่อพื้นบ้านกับการสร้างอัตลักษณ์ของชุมชนบ้านแม่เมาะหลวง : กรณีศึกษา ประเพณีแห่ช้างผ้า\"

โดย :

ผศ.เบญจวรรณ เลาลลิต
ชื่อเรื่อง : สื่อพื้นบ้านกับการสร้างอัตลักษณ์ของชุมชนบ้านแม่เมาะหลวง : กรณีศึกษา ประเพณีแห่ช้างผ้า
ผู้วิจัย : ผศ.เบญจวรรณ เลาลลิต
วันที่เผยแพร่ : 30-11--0001
บทคัดย่อ : การวิจัย เรื่อง “สื่อพื้นบ้านกับการสร้างอัตลักษณ์ของชุมชนบ้านแม่เมาะหลวง : กรณีศึกษาประเพณีแห่ช้างผ้า” ในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research :PAR) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบของสื่อพื้นบ้าน “ประเพณีแห่ช้างผ้า” ที่แสดงถึงอัตลักษณ์ของชุมชนบ้านเมาะหลวง อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปางเพื่อเสนอรูปแบบและวิธีการอนุรักษ์และสืบสานประเพณีแห่ช้างผ้าของชุมชนบ้านเมาะหลวง อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง และเพื่อศึกษาบทบาทหน้าที่ของประเพณีแห่ช้างผ้าของชุมชนบ้านเมาะหลวง อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง ขั้นตอนการดำเนินการวิจัย คือศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับเรื่องประเพณี วัฒนธรรม ที่เกี่ยวกับประเพณีแห่ช้างผ้าศึกษาบริบทของชุมชนเมาะหลวง อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง สัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้นำชุมชน เก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาของประเพณีและรูปแบบของประเพณี โดยเข้าร่วมประเพณีแห่ช้างผ้า จากการวิจัยพบว่า รูปแบบสื่อพื้นบ้าน “ประเพณีแห่ช้างผ้า” บ้านเมาะหลวง หมู่ที่ 8 ต.แม่เมาะ จ.ลำปาง นั้นเป็นประเพณีที่เก่าที่สืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยโบราณ โดยการจัดทำช้างจำลองขนาดเท่าตัวจริงหรือเล็กกว่าเล็กน้อย มีงวง งา หู หางกระติกได้ ทำจากไม้แล้วหุ้มด้วยผ้า เรียกว่า “ช้างผ้า” นำมาแบกแห่กันเป็นประเพณีที่แสดงถึงความกตัญญูต่อช้าง นับว่าเป็นภูมิปัญญาของชาวบ้านเมาะหลวง ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ถือว่าเป็นอัตลักษณ์ของชุมชนแห่งนี้ เป็นแห่งเดียวในจังหวัดลำปางที่มีประเพณีแห่ช้างผ้า บทบาทหน้าที่ของประเพณีแห่ช้างผ้าในการแสดงอัตลักษณ์ของชุมชนสื่อพื้นบ้าน “ประเพณีแห่ช้างผ้า”ของชาวเมาะหลวง หมู่ที่ 8 อ.แม่เมาะ จ.ลำปาง นับว่าเป็นอัตลักษณ์ที่แสดงตัวตน แสดงให้เห็นถึงความเชื่อเกี่ยวกับช้างซึ่งเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ของหมู่บ้าน ที่ถือปฏิบัติสืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบัน เป็นความเชื่อของความเป็นมงคลแก่ชีวิตของวิถีชีวิตชุมชนบ้านเมาะหลวง แสดงออกถึงความสามัคคี ความเสียสละ และการมีส่วนร่วมของชุมชน และแสดงให้เห็นถึงขนบธรรมเนียมประเพณีของท้องถิ่น ที่เป็นประเพณีดั้งเดิม ที่สืบเชื้อสายตามความเชื่อของบรรพบุรุษที่มีความรักความผูกพัน ความกตัญญูต่อช้าง สัตว์ที่ใช้เป็นพาหนะและการใช้งาน แฝงความเชื่อเข้ากับตำนาน จนเกิดเป็นประเพณีที่มีเอกลักษณ์และความสวยงามตามวัฒนธรรมให้ลูกหลานปฏิบัติสืบทอดกันมา บ่งบอกความเป็นอัตลักษณ์ของชุมชนได้อย่างชัดเจน ส่วนรูปแบบและวิธีการในการอนุรักษ์และสืบสานประเพณีแห่ช้างผ้า ทำได้โดยการอนุรักษ์ประเพณีนี้ให้คงอยู่สืบไป อาศัยการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ส่งเสริมประเพณีให้คนในชุมชนตระหนักในความสำคัญของประเพณีที่แสดงถึงความกตัญญูต่อช้างที่มีพระคุณต่อการดำเนินชีวิตมาตั้งแต่สมัยอดีต โดยการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม ขอสนับสนุนการดำเนินงานจากหน่วยงานภายนอก และโดยการปลูกจิตสำนึกให้เยาวชนในชุมชนบ้านเมาะหลวงตระหนักถึงคุณค่า แก่นสาระ และความสำคัญของประเพณีแห่ช้างผ้า ให้เยาวชนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในประเพณีดังกล่าว ร่วมกันจัดทำช้างผ้า จัดทำหอผ้า การหามช้างเข้าร่วมขบวนแห่ ร่วมตีกลองนำขบวนแห่
Abstract :
รายละเอียด :

งานวิจัย

\"การพัฒนาความสามารถด้านการพูดในโอกาสต่างๆโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ รายวิชาวาทวิทยาและการนำเสนอ (3012202)\"

โดย :

ผศ.เบญจวรรณ เลาลลิต
ชื่อเรื่อง : การพัฒนาความสามารถด้านการพูดในโอกาสต่างๆโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ รายวิชาวาทวิทยาและการนำเสนอ (3012202)
ผู้วิจัย : ผศ.เบญจวรรณ เลาลลิต
วันที่เผยแพร่ : 30-11-2016
บทคัดย่อ : บทคัดย่อ การวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถด้านการพูดในโอกาสต่าง ๆ โดยการสอนแบบบทบาท สมมุติ รายวิชาวาทวิทยาและการนำเสนอ (3012202)” มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารด้านการพูดในโอกาสต่าง ๆ โดยการใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ ให้กับนักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตร์ ชั้นปีที่ 2 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางที่เรียนในรายวิชาวาทวิทยาและการนำเสนอ (3012202) ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตร์ ชั้นปีที่ 2 รหัส 2558 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 56 คน เครื่องมือที่ใช้คือในการวิจัยคือ แบบสอบถามเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารด้านการพูด ผลการวิจัย พบว่า นักศึกษามีความพึงพอใจเกี่ยวกับกระบวนการเรียนการสอนและคุณลักษณะของผู้สอนในรายวิชาวาทวิทยาและการนำเสนอ โดยรวมอยู่ในระดับดี นักศึกษามีความพึงพอใจมากที่สุดคือ ผู้เรียนมีความพึงพอใจในการเรียนการสอนโดยภาพรวม รองลงมาคือประเด็นผู้สอนมีการเตรียมต่อการสอน และการเข้าชั้นเรียนมีความจำเป็นต่อการเรียน ตามลำดับ ส่วนข้อที่มีความพึงพอใจน้อยที่สุดคือเอกสารประกอบการสอนเหมาะสม และผู้สอนได้แจ้งวิธีการวัดผลการเรียนแก่ผู้เรียนอย่างชัดเจน ด้านความพึงพอใจเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการสื่อสารด้านการพูด โดยการใช้บทบาทสมมุติครั้งที่ 1 (การวางโครงเรื่อง) พบว่า นักศึกษาความพึงพอใจเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการสื่อสารด้านการพูดโดยการใช้บทบาทสมมุติครั้งที่ 1 (การวางโครงเรื่อง) โดยรวมอยู่ในระดับดี นักศึกษามีความพึงพอใจอยู่ในระดับดีทุกประเด็น ซึ่งมีประเด็นที่นักศึกษามีความพึงพอใจมากที่สุดคือ รูปแบบการเรียนการสอนโดยการใช้บทบาทสมมุติครั้งที่ 1 (การวางโครงเรื่อง) ทำให้ผู้เรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกับการพูดทางด้านนิเทศศาสตร์มากกว่ารูปแบบการเรียนการสอนแบบฝึกปฏิบัติการพูดรายบุคคลเพียงอย่างเดียว รองลงมาคือประเด็นผู้เรียน มีความตื่นตัวในการพูดแบบการใช้บทบาทสมมุติครั้งที่ 1 (การวางโครงเรื่อง) ประเด็นผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อรูปแบบการเรียนการสอนโดยการใช้บทบาทสมมุติครั้งที่ 1 (การวางโครงเรื่อง) และประเด็นผู้เรียนได้ทราบถึงปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นโดยการใช้บทบาทสมมุติครั้งที่ 1 (การวางโครงเรื่อง) ตามลำดับ ส่วนข้อที่มีความพึงพอใจน้อยที่สุดคือผู้เรียนมีความเข้าใจรูปแบบของการพูดประเภทต่างๆ ด้านความพึงพอใจเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการสื่อสารด้านการพูด โดยการใช้บทบาทสมมุติครั้งที่ 2 (การพูดในโอกาสต่างๆ) พบว่า นักศึกษาความพึงพอใจเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการสื่อสารด้านการพูด โดยการใช้บทบาทสมมุติครั้งที่ 2 (การพูดในโอกาสต่างๆ) โดยรวมอยู่ในระดับดี เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า นักศึกษามีความพึงพอใจอยู่ในระดับดีทุกประเด็น ซึ่งมีประเด็นที่นักศึกษามีความพึงพอใจมากที่สุดคือ ผู้เรียนสามารถนำความรู้และทักษะที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการพูดและการเสนอได้ต่อไป รองลงมาคือประเด็นผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อรูปแบบการเรียนการสอนโดยการใช้บทบาทสมมุติครั้งที่ 2 (การพูดในโอกาสต่างๆ) ในรายวิชาวาทวิทยาและการนำเสนอ ส่วนข้อที่มีความพึงพอใจน้อยที่สุดคือผู้เรียนมีความเข้าใจในลำดับขั้นตอนของวาทวิทยาและการนำเสนอ
Abstract :
รายละเอียด :

งานวิจัย

\"ความพึงพอใจของผู้เข้ามาใช้บริการในสำนักงานคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง\"

โดย :

ผศ.เบญจวรรณ เลาลลิต
ชื่อเรื่อง : ความพึงพอใจของผู้เข้ามาใช้บริการในสำนักงานคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
ผู้วิจัย : ผศ.เบญจวรรณ เลาลลิต
วันที่เผยแพร่ : 01-01-1970
บทคัดย่อ :
Abstract :
รายละเอียด :

งานวิจัย

\"แผนงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุ่มเกษตรกรด้วยนวัตกรรมด้านการเกษตรในตำบล วอแก้ว อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง\"

โดย :

ผศ.ฐิฏิกานต์ สุริยะสาร
ผศ.ดร.พรชนก ทองลาด
ผศ.เบญจวรรณ เลาลลิต
ชื่อเรื่อง : แผนงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุ่มเกษตรกรด้วยนวัตกรรมด้านการเกษตรในตำบล วอแก้ว อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง
ผู้วิจัย : ผศ.ฐิฏิกานต์ สุริยะสาร
ผศ.ดร.พรชนก ทองลาด
ผศ.เบญจวรรณ เลาลลิต
วันที่เผยแพร่ : 01-01-1970
บทคัดย่อ :
Abstract :
รายละเอียด :

งานวิจัย

\"35.โครงการวิจัยย่อยที่ 3 : แนวทางการจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วม ของเทศบาลตำบล ทุ่งสะโตก อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่\"

โดย :

ดร.ณัฐวุฒิ ปัญญา
ดร.อารยา อริยา
ผศ.เบญจวรรณ เลาลลิต
อ.นุสรา แสงอร่าม
อ.วัลลภ สิงหราช
ชื่อเรื่อง : 35.โครงการวิจัยย่อยที่ 3 : แนวทางการจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วม ของเทศบาลตำบล ทุ่งสะโตก อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่
ผู้วิจัย : ดร.ณัฐวุฒิ ปัญญา
ดร.อารยา อริยา
ผศ.เบญจวรรณ เลาลลิต
อ.นุสรา แสงอร่าม
อ.วัลลภ สิงหราช
วันที่เผยแพร่ : 01-01-1970
บทคัดย่อ :
Abstract :
รายละเอียด :

งานวิจัย

\"29.โครงการวิจัยย่อยที่ 13 : กระบวนการขับเคลื่อนเพื่อเพิ่มจำนวนเกษตรกรในการทำเกษตรอินทรีย์ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ตำบลแม่มอก อำเภอเถิน จังหวัดลำปาง\"

โดย :

สุวรรณี จันทร์ตา
จักรชัยวัฒน์ กาวีวงศ์
ผศ.เบญจวรรณ เลาลลิต
อ.ปิยะรัตน์ ทองธานี
ชื่อเรื่อง : 29.โครงการวิจัยย่อยที่ 13 : กระบวนการขับเคลื่อนเพื่อเพิ่มจำนวนเกษตรกรในการทำเกษตรอินทรีย์ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ตำบลแม่มอก อำเภอเถิน จังหวัดลำปาง
ผู้วิจัย : สุวรรณี จันทร์ตา
จักรชัยวัฒน์ กาวีวงศ์
ผศ.เบญจวรรณ เลาลลิต
อ.ปิยะรัตน์ ทองธานี
วันที่เผยแพร่ : 01-01-1970
บทคัดย่อ :
Abstract :
รายละเอียด :

งานวิจัย

\"การศึกษาแนวทางการพัฒนาสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพาะเห็ดเยื่อไผ่ และแปรรูปบ้านกอรวก ตำบลจางเหนือ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง\"

โดย :

ผศ.กนกพร เอกกะสินสกุล
อ.กิติวัฒน์ กิติบุตร
อ.ภาคภูมิ พิชวงค์
ผศ.เบญจวรรณ เลาลลิต
ชื่อเรื่อง : การศึกษาแนวทางการพัฒนาสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพาะเห็ดเยื่อไผ่ และแปรรูปบ้านกอรวก ตำบลจางเหนือ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ผู้วิจัย : ผศ.กนกพร เอกกะสินสกุล
อ.กิติวัฒน์ กิติบุตร
อ.ภาคภูมิ พิชวงค์
ผศ.เบญจวรรณ เลาลลิต
วันที่เผยแพร่ : 04-01-2019
บทคัดย่อ :
Abstract :
รายละเอียด :

งานวิจัย

\"แผนงานวิจัยเรื่อง: การเพิ่มคุณค่าของผลิตภัณฑ์น้ำพริกลาบเพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนน้ำพริกลาบ ตำบลวอแก้ว อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง\"

โดย :

อ.จิระประภา คำราช
ผศ.ฐิฏิกานต์ สุริยะสาร
ผศ.กาญจนา คุมา
ผศ.เบญจวรรณ เลาลลิต
ชื่อเรื่อง : แผนงานวิจัยเรื่อง: การเพิ่มคุณค่าของผลิตภัณฑ์น้ำพริกลาบเพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนน้ำพริกลาบ ตำบลวอแก้ว อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง
ผู้วิจัย : อ.จิระประภา คำราช
ผศ.ฐิฏิกานต์ สุริยะสาร
ผศ.กาญจนา คุมา
ผศ.เบญจวรรณ เลาลลิต
วันที่เผยแพร่ : 01-01-1970
บทคัดย่อ :
Abstract :
รายละเอียด :

งานวิจัย

\"เส้นทางการท่องเที่ยววัฒนธรรมสมัยนิยมของหมู่บ้านท่องเที่ยวโอทอปนวัตวิถีชุมชนหนองบัว อำเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่\"

โดย :

ดร.ปัณณทัต กัลยา
ผศ.เบญจวรรณ เลาลลิต
ชื่อเรื่อง : เส้นทางการท่องเที่ยววัฒนธรรมสมัยนิยมของหมู่บ้านท่องเที่ยวโอทอปนวัตวิถีชุมชนหนองบัว อำเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่
ผู้วิจัย : ดร.ปัณณทัต กัลยา
ผศ.เบญจวรรณ เลาลลิต
วันที่เผยแพร่ : 01-01-1970
บทคัดย่อ :
Abstract :
รายละเอียด :